ประมวลการสอนรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม
วิทยาเขต/คณะภาควิชา คณะครุศาสตร์
1. รหัสและชื่อรายวิชา
การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
(Instructional and
Classroom Management)
2. จำนวนหน่วยกิต
3หน่วยกิต (2-2-5)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
หมวดวิชาเฉพาะกลุ่มวิชาชีพครูเวิชาบังคับ)
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร. พิจิตราธงพานิช
e-mail Phichittra.npu.ac.th
Mobile Phone:
084555439
5. ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา
ภาคการศึกษาที่ 2/2561
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Prerequisite)
(ถ้ามี)
7. สถานที่เรียน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม
8. จุดมุ่งหมายของรายวิชารายวิชานี้ออกแบบเพื่อช่วยให้นักศึกษาได้เรียนรู้และบรรลุ
จุดมุ่งหมายดังนี้
8.
1.
มีความรู้ในเรื่องหลักการแนวคิดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
8.
2. มีทักษะในการการจัดทำแผนการเรียนรู้และนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลจริง
8.
3. มีความสามารถคิดวิเคราะห์คิดสร้างสรรค์และแก้ปัญหาได้การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวม
8.
4. มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้และการพัฒนาศูนย์การเรียนในสถานศึกษา
8.
5. มีเจตคติที่ดีและให้ความสำคัญต่อการจัดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้การสร้างบรรยากาศและการจัดการชั้นเรียนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
9. คำอธิบายรายวิชา
หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทำแผนการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ และสิ่งแวดล้อม เพื่อการเรียนรู้ ทฤษฎีและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และแก้ปัญหาได้
การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวม การจัดการชั้นเรียน
การพัฒนาศูนย์การเรียนในสถานศึกษา
การจัดทำแผนการเรียนรู้และนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลจริงการสร้างบรรยากาศการจัดการชั้นเรียนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
Principles,
concepts and guideline for learning plan development learning management and
environment for learning; theories and instructional management model for
learners learn how to know the critical thinking, creative thinking and solving
problems; integration of inclusive education; classroom management; learning
center development in schools; writing learning plans and implementing for
authentic output; creating a positive classroom atmosphere for learners
10จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย
|
สอนเสริม
|
การฝึกปฏิบัติงาน
ภาคสนาม/การฝึกงาน
|
การศึกษาด้วยตนเอง
|
2ชั่วโมง/สัปดาห์
|
-
|
2ชั่วโมง/สัปดาห์
|
5ชั่วโมง/สัปดาห์
|
11. แผนการสอน
สัปดาห์ที่
|
หัวข้อ/รายละเอียด
|
จำนวนชั่วโมง
|
จำนวนชั่วโมง
|
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
|
ผู้สอน
|
1
|
แนะนำรายวิชา
ออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ร่วมกัน การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน : The STUDIES Model
|
2
|
2
|
-บรรยาย/อภิปราย/สรุป
-ประมวลการสอน
The STUDIES Model
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพานิช
|
2
|
กำหนดจุดหมายการเรียนรู้
(Setting Learning
Goals)
|
2
|
2
|
-Power Point/หนังสือ
-จับคู่
ปฏิบัติกิจกรรม
-Assignment
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพาณิช
|
3
|
วิเคราห์ภาระงาน (Task Analysis)
|
2
|
2
|
-Power Point/หนังสือ
-จับคู่
ปฏิบัติกิจกรรม
-Assignment
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพาณิช
|
4
|
การออกแบบการเรียนการสอนที่เป็นสากล (Universal Design for Instruction)
|
2
|
2
|
-Power Point/หนังสือ
-จับคู่
ปฏิบัติกิจกรรม
-Assignment
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพานิช
|
5
|
การเรียนรู้จากสื่อดิจิทัล
(Digital Learning)
|
2
|
2
|
-Power Point/หนังสือ
-จับคู่
ปฏิบัติกิจกรรม
-Assignment
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพานิช
|
6
|
การบูรณาการความรู้ (Integrated Knowledge)
|
2
|
2
|
-Power Point/หนังสือ
-จับคู่
ปฏิบัติกิจกรรม
-Assignment
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพานิช
|
7
|
การประเมินเพื่อปรับปรุงการสอน
(Evaluation to
Improve Teaching)
|
2
|
2
|
-Power Point/หนังสือ
-จับคู่
ปฏิบัติกิจกรรม
-Assignment
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพานิช
|
8
|
การประเมินอิงมาตรฐาน
(Standard Based
Assessment)
|
2
|
2
|
-Power Point/หนังสือ
-จับคู่
ปฏิบัติกิจกรรม
-Assignment
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพานิช
|
9
|
การประเมินระหว่างเรียนสอบกลางภาค
|
2
|
-
|
-สอบข้อเขียนในชั้นเรียน
-Assignment
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพานิช
|
10
|
การออกแบบ
และเขียนแผนจัดการเรียนรู้ การจัดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
|
2
|
-
|
แผนจัดการเรียนรู้
ผลิตภัณฑ์/ สื่อการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพานิช
|
11
|
การออกแบบ
และการเขียนแผนจัดการเรียนรู้ การจัดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
|
2
|
-
|
แผนจัดการเรียนรู้
ผลิตภัณฑ์/ สื่อการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพานิช
|
12
|
การออกแบบ
และการเขียนแผนจัดการเรียนรู้ การจัดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
|
2
|
-
|
แผนจัดการเรียนรู้
ผลิตภัณฑ์/ สื่อการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพานิช
|
สัปดาห์ที่
|
หัวข้อ/รายละเอียด
|
จำนวนชั่วโมง
|
จำนวนชั่วโมง
|
กิจกรรมการเรียนการสอน
สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
|
ผู้สอน
|
13
|
สาธิต/การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
(กลุ่ม 4-6 คน) สองกลุ่ม
|
2
|
2
|
-การปฏิบัติตามแผนจัดการเรียนรู้
-จัดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพานิช
|
14
|
สาธิต/การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
(กลุ่ม 4-6 คน) สองกลุ่ม
|
2
|
2
|
-การปฏิบัติตามแผนจัดการเรียนรู้
-จัดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพานิช
|
15
|
สาธิต/การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
(กลุ่ม 4-6 คน) สองกลุ่ม
|
2
|
2
|
-การปฏิบัติตามแผนจัดการเรียนรู้
-จัดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพานิช
|
16
|
-ประเมินผลปลายภาค
|
2
|
-
|
-ทดสอบ
-แบบทดสอบ
|
ผศ.ดร.พิจิตรา ธงพานิช
|
รวม
|
32
|
28
|
12. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน (Instruction and
Classroom Management) มีแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้
(Constructivist) และการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) รายละเยือดคังต่อไปนี้
12.1 กำหนดจุดหมายการเรียนรู้ (Setting
Learning Goals)
12.2 วิเคราะห์กรระงาน (Task
Analysis)
12.3 การออกแบบการเรียนการสอนที่เป็นสากล
(Universal Design for Instruction)
12.4 การเรียนรู้จากสื่อดิจิทัล (Digital
Learning)
12.5 การบูรณาการความรู้ (Integrated
Knowledge)
12.6 การประเมินเที่ยปรับปรุงการสอน
(Evaluation to improve Teaching)
12.7 การประเมินอิงมาตรฐาน (Standard
based Assessment)
สรุปเป็น The STUDIES
Model ดังภาพประกอบ
ใช้หลักการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตาม Outcome Driven Model ประกอบด้วย
1.
หลักการการจัดการเรียนรู้
2.
จุดมุ่งหมายของการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
3.
การสอน
ขั้นที่ 1 วิเคราะห์จุดหมายในการเรียนรู้
ขั้นที่ 2 การวางแผนการเรียนรู้
ขั้นที่ 3 การพัฒนาทักษะการเรียนรู้
ขั้นที่ 4 การสรุปความรู้และการวิพากษ์ความรู้
ขั้นที่ 5 การประเมินการเรียนรู้
4. การประเมินผล
สรุปเป็นแผนภาพ ได้ดังนี้
รายวิชาการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
(Instructional and Learning Management)
จัดหน่วยการเรียนรู้เป็น 8 หน่วย ดังนี้
หน่วยที่
|
เนื้อหาสาระ
|
1
|
การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
: The STUDIES
Model
|
2
|
กำหนดจุดหมายการเรียนรู้ (Setting Learning Goals)
|
3
|
วิเคราะห์ภาระงาน (Task Analysis)
|
4
|
การออกแบบการเรียนการสอนที่เป็นสากล (Universal Design for Instruction)
|
5
|
การเรียนรู้จากสื่อดิจิทัล (Digital Learning)
|
6
|
การบูรณาการความรู้ (Integrated Knowledge)
|
7
|
การประเมินเพื่อปรับปรุงการสอน (Evaluation to Improve Teaching)
|
8
|
การประเมินอิงมาตรฐาน Standard
|
หลักการประเมินผลการเรียนรู้
จากผลการศึกษาวิจัยของ David Nicol (2007) University of
Strathclyde) ได้เสนอหลักการประเมินผลการเรียนรู้และการให้ข้อเสนอแนะที่ดี ทฤษฎีและหลักการที่ใช้เป็นแนวปฏิบัติในการประเมินผลการศึกษาระดับอุดมศึกษา
10 ข้อดังนี้
1. ให้ความชัดเจนว่าการปฏิบัติงานที่ดีเป็นอย่างไร
(เป้าหมายเกณฑ์การวัดเกณฑ์มาตรฐาน)
ขอบเขตของสิ่งที่ผู้เรียนต้องทำในหลักสูตรมีความสัมพันธ์กับเป้าหมายของเกณฑ์และมาตรฐานก่อนระหว่างและหลังการประเมินผลแค่ไหน
2. ให้“ เวลาและความพยายาม” กับการเรียนรู้สิ่งที่ท้าทายขอบเขตของงานที่มอบหมายมีส่วนกระตุ้นการเรียนรู้ทั้งในและนอกชั้นเรียนอย่างลึกซึ้งแค่ไหน
3.
ให้ข้อมูลย้อนกลับคุณภาพสูงที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ตรวจสอบความถูกต้องได้ด้วยตนเองผู้สอนให้ข้อมูลย้อนกลับแบบไหนและความคิดเห็นดังกล่าวมีส่วนช่วยให้ผู้เรียนสามรถเรียนรู้และปรับปรุงด้วยตนเองได้อย่างไร
4. สร้างความเชื่อที่เป็นแรงบันดาลใจและความเคารพตนเองในทางบวกขอบเขตของการประเมินและการให้ข้อมูลย้อนกลับสามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนและความสำเร็จแก่ผู้เรียนได้แค่ไหน
5. สนับสนุนให้มีการปฏิสัมพันธ์และการพูดคุยในเรื่องการเรียนการสอน
(เพื่อนและครูนักเรียนมีโอกาสได้บ้างสำหรับการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรื่องงานที่มอบหมายเพื่อการประเมินผลในรายวิชาที่สอน
6.
อำนวยความสะดวกในการพัฒนาการประเมินตนเองและการสะท้อนความคิดทางด้านการเรียนขอบเขตของโอกาสอย่างเป็นทางการสำหรับการให้ข้อมูลย้อนกลับการประเมินตนเ:
การประเมินโดยเพื่อนในวิชาที่เรียนมีแค่ไหน
7.
ให้โอกาสผู้เรียนเสียกการประเมินผล-เนื้อหาและกระบวนการขอบเขตของผู้เรียนสำหรับการเลือกหัวข้อวิธีการเกณฑ์การวัดผล
ค่าน้ำหนักคะแนน กำหนดเวลา และงานที่มอบหมายเพื่อการประเมินผล งานที่ใช้ประเมินผล/การประเมินผลงานในรายวิชาที่สอนมีแค่ไหน
8.
ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายการประเมินผลและการปฏิบัติขอบเขตของข้อมูลที่ผู้เรียนได้รับหรือมีการส่วนร่วมให้คำปรึกษาเพื่อการตัดสินใจเรื่องการประเมินผสมแค่ไหน
9. สนับสนุนการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ขอบเขตของการประเมินผลและการให้ข้อมูลย้อนกลับช่วยสนับสนุนการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้แค่ไหน
10.
ช่วยผู้สอนในการปรับการสอนเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน
ดังนั้นการประเมินผลจะมีหลักการที่จะควบคุมกระบวนการการประเมินมีดังต่อไปนี้
1. การประเมินผลตามแนวคิด
(Out-Come Driver Model มีจุดหมาย (Goals) การ
สอนที่ชัดเจน
2. ขั้นตอนและเทคนิคในการประเมินผลควรเลือกตามจุดประสงค์ในการประเมิน
3.
การประเมินผลควรทำอย่างต่อเนื่องและการประเมินผลควรจะมีความละเอียดรอบคอบ
4. การประเมินผลควรระบุจุดอ่อนจุดแข็งและใช้งานได้
5. การประเมินผลควรเป็นความพยายามร่วมกัน
13. การประเมินผล
13.1 ประเด็นการประเมินผลของรายวิชาพร้อมคำน้ำหนักเป็นร้อยละ
1. ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ร้อยละ 10
2. การฝึกปฏิบัติการเขียนแผนจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ร้อยละ 20
3. สาธิตการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ร้อยละ 20
4. การเสนอภานิพนธ์
ร้อยละ 20
5. การประเมินความรอบรู้ปลายภเรียน
ร้อยละ 30
13.2 การกำหนดค่าระดับเกรดแต่ละระดับช่วง (ร้อยละ) ของคะแนน
คะแนน (ร้อยละ)
|
เกรด
|
80 - 100
|
A
|
75 - 79
|
B+
|
70 - 74
|
B
|
65 - 69
|
C+
|
60 - 64
|
C
|
55 - 59
|
D+
|
50 - 54
|
D
|
ต่ำกว่า 50
|
F
|
1 14. ตำราและเอกสารหลัก
คณะกรรมาธิการนานาชาติว่าด้วยการศึกษาในศตวรรษที่ 21. (1997). การเรียนรู้
: ขุมทรัพย์ในตน. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ
จรัสชวนะพันธ์ (สาครสุทธเสถียร), จุน (145) อัมยาตมวิทยา. นนทบุรีสำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
American Psychological
Association. (1997). Learner Centered
psychological Principles : A
Framework for school reform and redesign. USA.
Davis, Barbara
Gross. (2009) Tools for Teaching The United States of America
: John Wiley and Sons. Inc
Killeen, Roy
(2013) Effective Teaching Strategies Australia : Cengage
Learning
Australia Pty Limited
15. เอกสารและข้อมูลสำคัญ
พิจิตราธงพานิช (2561) The STUDIES Model : การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้น
เรียน นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาศิลปากร.
Madhabi
Chutterj. (2003). Digning and LingTools for Educational Assessment.
Teacher College, Columbia
University U.S.A.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น