การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
นิยาม “การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร (Curriculum Based Assessment; CBA) คือ การให้ผู้เรียน อบต. เรียนรู้ตามกิจกรรมที่ออกแบบให้สอดคล้องกับหลักสูตรที่ใช้ จากนั้นนําผลการทดสอบไปใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนให้ตอบสนองความต้องการจําเป็นของนักเรียน ผู้สอนนําผลการประเมินตามหลักสูตรมาใช้เพื่อ ขอปรับเปลี่ยนการสอนของตนเอง เพื่อช่วยผู้เรียนให้พร้อมที่จะเรียนเรื่องต่อไป หรือกรณีที่ผู้เรียนที่มีความหวังทำ พร้อมและต้องการก้าวหน้ายิ่งขึ้น นักการศึกษาใช้การประเมินตามหลักสูตรเพื่อช่วยให้อัตราการพัฒนาการ แต่ควรเรียนการสอนสูงขึ้นได้ รวมถึงการปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน ด้วยการสังเกตและบันทึกการปฏิบัติของ อีกด้วย นักเรียนตามที่กําหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา ข้อมูลต่าง ๆ ที่เก็บรวบรวมได้จะช่วยในการตัดสินใจ และและเกี่ยวกับการเรียนการสอน (Deno, 1987, p. 41). ในการประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรนั้นการตัดสินใจ จะได้ เกี่ยวกับการสอนขึ้นอยู่กับข้อมูลย้อนกลับที่ได้จากการประเมินความสามารถของผู้เรียนที่ระบุไว้ในหลักZins, & Curtis, 1988, Marston & Magnusson, 1985) ทั้งนี้เพื่อให้การเรียนการสอนตรงกับความต้องการ ผู้เรียน อันเป็นการเพิ่มโอกาสที่ประสบความสําเร็จในการเรียนรู้
การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรมีจุดเด่นที่บอกถึงภาระงานใดที่ช่วยให้ผู้เรียนได้พังสามารถตามที่หลักสูตรกําหนด การเลือกภาระงาน และกระบวนการใช้คะแนนมาตร ปริหาร ใช้การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างไรนั้นก็แล้วแต่สถานการณ์ อาจใช้ข้อมูลที่ได้จากการ ประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรให้โปรไฟล์ของผู้เรียนได้ทั้งในระดับรายบุคคล ระดับชั้นเรียน ระวัง "อานศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษา นอกจากนี้ข้อมูลจากการประเมินตามหลักสูตรสามารถใช้เป็นกลุ่มที่ใช้เปรียบเทียบคะแนนของผู้เรียนรายบุคคลมา (Shinn, 1988) หรือ เทียบ (norm-referenced manner) mm) ความสามารถของผู้เรียน อันเป็นผลมาจากการเรียน เกณฑ์เปรียบเทียบ (criterion-referenced mannสัมพันธ์สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน (Shinn & Good, 1992),
การประเมินผลการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษากรอบที่ใช้ในการอ้างอิงทอง ผลการศึกษาวิจัยของเดวิด นิโคล (David Nicol University of Strathclyde สรุปเป็นหลัก การให้ข้อมูลย้อนกลับที่ดี 10 ข้อ ดังนี้
1. ให้ความชัดเจนว่าการปฏิบัติงานที่ดีเป็นอย่างไร (เป้าหมาย เกณฑ์การวัด ขอบเขตของสิ่งที่ผู้เรียนต้องทําในหลักสูตรมีความสัมพันธ์กับเป้าหมายของเกณฑ์ ระหว่าง และหลังการประเมินผลแค่ไหน
2. ให้ “เวลาและความพยายาม” กับการเรียนรู้สิ่งที่ท้าทาย ขอบเขตของงานที่หลาก กระตุ้นการเรียนรู้ทั้งในและนอกชั้นเรียน
3. ให้ข้อมูลย้อนกลับคุณภาพสูงที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ตรวจสอบความถูกต้องตนเองผู้สอนให้ข้อมูลย้อนกลับหรือไม่อย่างไร และความคิดเห็นดังกล่าวมีส่วนช่วยให้ผู้เรียนสามารการวัดและปรับปรุงด้วยตนเองได้อย่างไร
4. สร้างความเชื่อที่เป็นแรงบันดาลใจและความเคารพตนเองในทางบวก ขอบเขตของ การบ ประเมินและการให้ข้อมูลย้อนกลับสามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนและความสําเร็จแก่ผู้เรียนได้แค่ไหนครับ
5. สนับสนุนให้มีการปฏิสัมพันธ์และการพูดคุยในเรื่องการเรียนการสอน (เพื่อน และ นักเรียน) มีโอกาสใดบ้างสําหรับการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรื่องงานที่มอบหมายเพื่อการประเมินผล
6. อํานวยความสะดวกในการพัฒนาการประเมินตนเองและการสะท้อนความคิดทาง โดยเพื่อนในวิชาที่เรียนมีแค่ไหน เรียน ขอบเขตของโอกาสอย่างเป็นทางการสําหรับการให้ข้อมูลย้อนกลับ การประเมินตนเอง การประ การเลือก หัวข้อ วิธีการ เกณฑ์การวัดผล
7. ให้โอกาสผู้เรียนเลือกการประเมินผล – เนื้อหาและกระบวนการ ขอบเขตของผู้เรียน ระเมินผล (งานที่ใช้ประเมินผล/การประเมินผลงาน) ในรายวิชาที่สอง
8. ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการตัดสิน
9. สนับสนุนการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียน ย้อนกลับช่วยสนับสนุนการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียน
10. ช่วยครูผู้สอนในการปรับการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองความต้องการของนักเรียน
ดังนั้นการประเมินผลจะมีหลักการ กระบวนการการประเมินการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้
1. การประเมินผลต้องยึดตามจุดประสงค์การสอนที่ชัดเจน
2. ขั้นตอนและเทคนิคในการประเมินผลควรเลือกตามจุดประสงค์
3. การประเมินผลควรเป็นที่เข้าใจได้ตรงกัน
4. การประเมินผลควรทําอย่างต่อเนื่อง
5 การประเมินผลควรระบุจุดอ่อนจุดแข็งและใช้งานได้
6. การประเมินผลควรเป็นความพยายามร่วมกัน
7. การประเมินผลควรจะมีความละเอียดรอบคอบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น